โครงการพัฒนาบุคลากร พื้นที่การสร้างเสริมสุขภาพบุคลากร
หลักการและเหตุผล
คนในวัยทำงานใช้ชีวิตขณะที่ตื่นอยู่ในที่ทำงานมากที่สุด ในแต่ละวัน เรา
ใช้ชีวิตอยู่ในที่ทำงาน
8-9 ชั่วโมง นั่งอยู่บนเก้าอี้ 2 -3 ชั่วโมงติดต่อกัน ใช้สิ่งอำนวยความสะดวกภายในบริษัท
อุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ มีสัมพันธ์กับหัวหน้า เพื่อนร่วมงาน และลูกน้อง แม่บ้าน จะเห็นได้ว่า
ที่ทำงานมีอิทธิพลต่อชีวิต และสุขภาพอย่างมาก
ถึงแม้ว่าบริษัทจะมีงบประมาณให้ตรวจสุขภาพประจำปีแล้วก็ตาม
ผลการตรวจที่ออกมาของแต่ละคนมักจะมีปัญหาอยู่ในเกณฑ์ที่ต้องดูแลเพิ่มเติม
แต่ในปีต่อๆไปก็ยังไม่ได้ปรับเปลี่ยนให้ดีขึ้น เนื่องจากเวลาในแต่ละวันเราได้ใช้ไปกับการทำงาน
พอถึงเวลาเลิกงานก็ต้องรีบกลับบ้าน และทำภาระของตัวเองกับครอบครัว
จึงไม่มีเวลาในการดูแลสุขภาพเราจึงจำเป็นต้องมี พื้นที่การสร้างเสริมสุขภาพบุคลากร
ภายในบริษัทเพื่อให้บุคลากรได้ดูแลสุขภาพด้วยเครื่องการออกกำลังกายต่างๆ หรือ
พื้นที่สำหรับกิจกรรมเข้าจังหวะ ให้ร่างกายได้ขยับไม่หยุดนิ่งอยู่กับที่
วัตถุประสงค์
2.1
เพื่อสุขภาพกายที่ดีขึ้นของบุคลากร
2.2
เพื่อสุขภาพจิตที่ดีขึ้นของบุคลากร
กลุ่มเป้าหมาย
3.1
บุคลากรภายในองค์กร 60 คน
ระยะเวลา
-
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ปี ปี 2018
งบประมาณ
-
งบประมาณในการสร้างพื้นที่เพื่อสุขภาพบุคลากร 200,000 บาท ดังนี้
รายการ
|
จำนวน
|
ราคา (บาท)
|
รวม
|
5.1 จัดซื้อลู่วิ่งไฟฟ้า
|
4
|
20,000
|
80,000
|
5.2 จัดซื้อเบาะนั่งซิทอัพ
|
2
|
1,200
|
2,400
|
5.3 จัดซื้อเสื่อโยคะ
|
10
|
390
|
3,900
|
5.4 เครื่องบริหารกระชับสัดส่วน
|
2
|
2,200
|
4,400
|
5.3 เครื่องเดินวงรี
|
2
|
14,900
|
29,800
|
5.4 ชุดดัมเบลหุ้มไวนิล
12kg
|
1
|
1,490
|
1,490
|
5.5 เครื่องบริหารร่างกาย
|
2
|
350
|
350
|
5.6 จ้างผู้ฝึกสอยออกกำลังกาย
หรือผู้ควบคุมโภชนาการ มาให้คำแนะนำในการออกกำลังกาย เดือนละ 4 ครั้ง วันละ 3
ชั่วโมง ภายใน 1 ปี เป็นเวลา 48 วัน
ราคา 33,600 บาท จำนวน 2 คน รวม 67,200 บาท
|
2
|
33,600
|
67,200
|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
6.1
สุขภาพร่างกายบุคลากรมีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
6.2
สุขภาพจิตแจ่มใส่ ยิ้มแย้ม
ให้ซึ่งกันและกันภายในองค์กร
เอกสารอ้างอิง
http://advisor.anamai.moph.go.th/main.php?filename=factory1
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น